วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บทที่ 6 ทำงานกับเลเยอร์

เลเยอร์ ( Layer )

ความหมายของเลเยอร์

       ลักษณะการทำงานแบบเลเยอร์ เป็นเหมือนการวางแผ่นใส ซ้อนทับกันเป็นลำดับขั้นขึ้นมาเรื่อยๆ โดยแต่ละแผ่นใส เปรียบเสมือน
เป็นแต่ละเลเยอร์ บริเวณของเลเยอร์ที่ไม่มีรูป จะเห็นทะลุถึงเลเยอร์ที่อยู่ข้างล่าง โดยกระบวนการเช่นนี้ จะทำให้เกิดเป็นรูปภาพ
สมบูรณ์ และทำให้เราสามารถจัดวางงานได้ง่าย
การใช้งาน Layers Palette

       Layers Palette เป็นศูนย์รวมของเลเยอร์ทั้งหมด ที่มีอยู่ในภาพ โดยเรียงตามลำดับ จากเลเยอร์ที่อยู่บนสุดไปจนถึงเลเยอร์
ที่อยู่ล่างสุด มี Scoolbar เลื่อนขึ้นลงเพื่อดูเลเยอร์ต่างๆ แต่ละเลเยอร์จะมีชื่อของเลเยอร์นั้นๆ อยู่ นอกจากนี้ Layers Palette
ยังเป็นเหมือนตัวควบคุม ลักษณะการใช้งานของเลเยอร์ทั้งหมด เราสามารถเรียก Layers Palette ขึ้นมาใช้งาน
โดยการใช้คำสั่ง Window> Show Layers ที่แถบเมนู
Active Layer

       ในการใช้งานโปรแกรม Photoshop นั้นแม้จะประกอบไปด้วยเลเยอร์หลายเลเยอร์ แต่เราจะทำงานได้เพียงทีละเลเยอร์เท่านั้น
เลเยอร์ที่เรากำลังทำงานอยู่ เราเรียกว่า Active Layer ซึ่งใน Layers Palette จะปรากฏเป็นแถบสีน้ำเงิน และมีไอคอน
ปรากฏอยู่ในช่องแสดงสถานะของเลเยอร์ เช่น แสดงว่ากำลังทำการปรับแต่งเลเยอร์อยู่ หรือ
เป็นการเพิ่มเลเยอร์ Mask ให้กับเลเยอร์นั้น
การเปลี่ยนการทำงานไปในเลเยอร์ต่างๆ

เราสามารถเรียกเลเยอร์ใดทำงานได้ โดยการเลื่อนเมาส์ ไปที่เลเยอร์ที่ต้องการ ตัวชี้เมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูป แล้ว Click mouse ที่แถบของเลเยอร์นั้น เลเยอร์นั้นจะกลายเป็น Active Layer โดยทันที
 
การซ่อนและแสดงเลเยอร์

       ภาพภาพหนึ่งจะประกอบไปด้วย เลเยอร์หลายเลเยอร์ ในบางครั้งหากเราต้องการปิดบางเลเยอร์ ไม่ให้มองเห็น ก่อน เพื่อความสะดวกในการทำงาน โดยที่ไม่ได้ลบเลเยอร์นั้นทิ้ง เราสามารถสั่งให้มีการซ่อน และแสดงเลเยอร์ได้ โดย
       1. ซ่อนเลเยอร์โดย Click mouse ที่  เพื่อซ่อนเลเยอร์ ซึ่งช่องสถานะนั้นจะเปลี่ยนเป็น 
       2. ผลลัพธ์ที่ได้ คือ เลเยอร์ Mushroom จะหายไป
       3. แสดงเลเยอร์โดย Click mouse ที่  อีกครั้งหนึ่ง เพื่อแสดงเลเยอร์ ช่องสถานะจะเปลี่ยนกลับมาเป็น 
       4. ผลลัพธ์ที่ได้ เลเยอร์ Mushroom จะปรากฏขึ้นอีกครั้ง
       5. ซ่อนและแสดงหลายๆ เลเยอร์พร้อมกัน โดยการ Drag mouse ผ่านช่องสี่เหลี่ยมต่างๆ
       6. ผลลัพธ์ที่ได้ เลเยอร์ Vegetable, Gevi, Orange และ Mushroom จะหายไป



การสร้างเลเยอร์เพิ่ม ที่ด้านล่างของส่วนเลเยอร์ คลิกที่เครื่องหมายสัญญลักษณ์
สี่เหลี่ยมพับมุม ถ้าต้องการ จะก้อปปี้เลเยอร์ ให้คลิกซ้ายค้างที่เลเยอร์ที่ต้องการ ลากไปที่
สัญญลักษณ์ สี่เหลี่ยมพับมุม ส่วนการลบ ก็ใช้การลากเลเยอร ์ที่ไม่ต้องการไปที่
สัญญลักษณ์ ถังขยะ


Opacity (ลดความเข้มของภาพลง)
ในส่วนของ เลเยอร์ มีเครื่องมือตัวนี้มาให้เพื่อช่วยลดความเข้มของภาพลง ทำให้ภาพดูใสในเปอร์เซ็นต์ที่ต่ำๆ
หรือในบางครั้ง ใช้เพื่อทำให้ภาพดูซอฟท์ลง ไม่ให้ดูแข็งเกินไป
 

วันอังคารที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บทที่ 5 การสร้างข้อความตกแต่งภาพ






การสร้างข้อความตกแต่งภาพ
การสร้างข้อความตกแต่งภาพ 
การสร้างงานกราฟิกนอกจากจะเป็นการนาภาพหลาย ๆ ภาพมาตกแต่งเป็นเรื่องราวแล้ว เรายังสามารถใส่ข้อความประกอบการนาเสนอได้ด้วย ชึ่งเนื้อหาในบทนี้เราจะกล่าวกันถึงเรื่องการใส่ตัวอักษรลงไปในภาพ โดยใช้คาสั่งในตระกูล Type Tool และปรับแต่งตัวอักษรและข้อความต่าง ๆ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. อธิบายความแตกต่างระหว่างตัวอักษรแบบเวกเตอร์และบิตแมพ
2. สร้างตัวอักษรแบบ Point type และ Paragraph type ได้
3. ปรับรูปแบบตัวอักษรเพื่อประกอบบนชิ้นงานได้
4. ใช้ตัวอักษรภาษาไทยใน Photoshop ได้
5. สร้างตัวอักษรแบบบิพแมพได้

5.1 รู้จักกับประเภทของตัวอักษร ตัวอักษรที่ใช้ในโปรแกรมกราฟิก โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบเวกเตอร์ (Vector) 
ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะเกิดจากการลากเส้นตรง เส้นโค้งที่คานวณด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ จากจุดหนึ่งไปยังสู่จุดหนึ่ง ต่อเนื่องจนเกิดเป็นภาพหรือตัวอักษร
ตัวอักษรแบบเวกเตอร์จะไม่มีปัญหาเรื่องรอยแตกบนขอบตัวอักษร เมื่อเกิดการย่อ/ขยายตัวอักษรมาก ๆ จึงเหมาะสาหรับนามาใช้ในงานสิ่งพิมพ์ และงานศิลป์ อย่างไรก็ตาม ตัวอักษรแบบนี้จะนาไปตกแต่งเอฟเฟ็กต์โดยใช้ฟิลเตอร์ไม่ได้ 
แบบบิดแมพ (Bitmap) ตัวอักษรแบบบิตแมพ จะเกิดจากการเรียงช่องสีเป็นตารางเพื่อสร้างภาพ หรือตัวอักษร ทาให้สะดวกในการประมวลผลเรื่องสี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงสี และการตกแต่งภาพ ฉะนั้นข้อดีของอักษรแบบบิตแมพ คือ สามารถใช้ได้กับการใส่เอฟเฟ็กต์ และฟิลเตอร์ ในขณะที่ข้อเสีย คือ เมื่อมีการขยายขนาดจะทาให้ ช่องสีขยายใหญ่เกินไปจนเห็นตัวอักษรแตกเป็นช่องเหลี่ยม ๆ
จา
ฉะนั้นหลักการและเทคนิคในการปรับแต่งตัวอักษรที่ดีที่สุด คือ พิมพ์ตัวอักษร (การพิมพ์จะได้ตัวอักษรแบบเวกเตอร์) กาหนดขนาดและดูความถูกต้องของตัวอักษร หลังจากนั้นจึงเปลี่ยนจากตัวอักษรแบบเวกเตอร์มาเป็นตัวอักษรแบบบิตแมพ เพื่อปรับเปลี่ยนสี และใส่เอฟเฟ็กต์ให้กับตัวอักษร เพราะถ้าเราแปลงข้อความจากเวกเตอร์เป็นบิตแมพ แล้วต่อจากนั้นมาปรับขนาดทีหลังจะส่งผลให้ตัวอักษรแตกได้ 1.2 เครื่องมือในการสร้างตัวอักษร 
เราสามารถสร้างข้อความได้ โดยใช้คาสั่ง Type Tool ซึ่งมีลักษณะการใช้งานที่แตกต่างกันไป 4 รูปแบบ ดังน 
5.3 การสร้างตัวอักษรแบบเวกเตอร์ 
ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ เหมาะสาหรับการนาเสนอข้อความที่มีความคมชัด และมีสีสันเรียบง่าย เพราะตัวอักษรแบบเวกเตอร์ไม่สามารถใส่เอฟเฟ็กต์ได้มากนัก
ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ มีอยู่ 2 แบบ คือ Point type และ Paragraph type ซึ่งต่างกันตรงที่ Point type จะเป็นข้อความชื่อเรื่อง ส่วน Paragraph type จะเป็นข้อความเนื้อเรื่องที่มีหลายบรรทัด หรือมีลักษณะเป็น
ตัวอักษรแบบ
Paragraph
7.คลิกเมาส์ยืนยันใช้ข้อความที่สร้างไว้

ภาพเริ่มต้นก่อนใส่ข้อความโฆษณา
1.คลิกเลือก
Type Tool ตามที่ต้องการ
4.เลือกขนาดตัวอักษ
5.เลือกสีของตัวอักษร
6.คลิกเมาส์และพิมพ์ข้อความที่

ข้อความแนวนอน

 
 
1. คลิกเมาส์เลือก Horizontal Type Tool เพื่อสร้างข้อความในแนวนอน หรือ Vertical Tool เพื่อ สร้าง ข้อความในแนวตั้ง
2. ในออปชั่นบาร์ ให้เรากาหนดรูปแบบของตัวอักษร
3. กาหนดลักษณะของตัวอักษร ได้แก่ ตัวหนา ตัวเอียง หรือตัวปกติ
4. กาหนดขนาดของตัวอักษร
5. กาหนดสีของตัวอักษร
6. คลิกเมาส์ลงไปในชิ้นงาน และพิมพ์ข้อความที่ต้องการ
7. คลิกเมาส์ปุ่ม เพื่อยืนยันใช้ข้อความที่เราได้สร้างเอาไว้นี้ 
ย่อหน้า สร้าง
1. คลิกเมาส์เลือก Horizontal Type Tool เพื่อสร้างข้อความในแนวนอน หรือ Vertical Type Tool เพื่อ สร้างข้อความในแนวตั้ง
2. ลากเมาส์เป็นพื้นที่กรอบสี่เหลี่ยมเพื่อกาหนดเป็นบริเวณใส่ข้อความ
3. ในออปชั่นบาร์ ให้เรากาหนดรูปแบบของตัวอักษร
4. พิมพ์ข้อความที่ต้องการลงในพื้นที่ว่างในกรอบสี่เหลี่ยมนั้น
5. คลิกเมาส์ที่ปุ่ม เพื่อยืนยันใช้ข้อความที่เราได้สร้างเอาไว้นี้ 
6. แสดงข้อความในลักษณะของ Paragraph ตามที่เราต้องการ TIP
โหมดสี Multichannel, Bitmap และ Indexed Color จะไม่สนับสนุนการทางานแบบเลเยอร์ ดังนั้นเมื่อเราพิมพ์ข้อความลงไปในภาพที่ใช้โหมดสีเหล่านี้ ข้อความที่พิมพ์จะทับอยู่บนภาพ Background โดยที่เราไม่สามารถแก้ไขข้อความได้ แต่ในกรณีที่เราต้องการแยกข้อความให้อยู่ในอีกเลเยอร์เพื่อจะสามารถแก้ไขได้ เราจะต้องใช้โหมดสีอื่น (การเปลี่ยนโหมดสีจะกล่าวในบทความรู้เรื่องสี) 5.6 การกาหนดรูปแบบตัวอักษร เราสามารถปรับแต่งตัวอักษรได้เพิ่มเติม โดยอาศัยการคลิกเมาส์ที่ปุ่ม บนออปชั่นบาร์ หรือเลือกคาสั่ง Window>Character เพื่อเปิดพาเนล Character
Font Type Style
Size Leading
Kerning Tracking
Vertically Scale Horizontally Scale
Baseline Color
ลักษณะตัวอักษร
Language Anti-Alias
Font กาหนดรูปแบบตัวอักษร 
6. ตกแต่งตัวอักษรด้วยพาเนล Style และ Layer Style ได้ 
5.คลิกเมาส์และลาก เพื่อย้ายตาแหน่งภาพ จากนั้นกดปุ่ม <Enter>เมื่อปรับรูปทรง5.1 รู้จักกับประเภทของตัวอักษร ตัวอักษรที่ใช้ในโปรแกรมกราฟิก โดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบเวกเตอร์ (Vector) ตัวอักษรแบบเวกเตอร์ จะเกิดจากการลากเส้นตรง เส้นโค้งที่คานวณด้วยสมการทางคณิตศาสตร์ จากจุดหนึ่งไปยังสู่จุดหนึ่ง ต่อเนื่องจนเกิดเป็นภาพหรือตัวอักษร
ตัวอักษรแบบเวกเตอร์จะไม่มีปัญหาเรื่องรอยแตกบนขอบตัวอักษร เมื่อเกิดการย่อ/ขยายตัวอักษรมาก ๆ จึงเหมาะสาหรับนามาใช้ในงานสิ่งพิมพ์ และงานศิลป์ อย่างไรก็ตาม ตัวอักษรแบบนี้จะนาไปตกแต่งเอฟเฟ็กต์โดยใช้ฟิลเตอร์ไม่ได้ 
แบบบิดแมพ (Bitmap) ตัวอักษรแบบบิตแมพ จะเกิดจากการเรียงช่องสีเป็นตารางเพื่อสร้างภาพ หรือตัวอักษร ทาให้สะดวกในการประมวลผลเรื่องสี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลงสี และการตกแต่งภาพ ฉะนั้นข้อดีของอักษรแบบบิตแมพ คือ สามารถใช้ได้กับการใส่เอฟเฟ็กต์ และฟิลเตอร์ ในขณะที่ข้อเสีย คือ เมื่อมีการขยายขนาดจะทาให้ ช่องสีขยายใหญ่เกินไปจนเห็นตัวอักษรแตกเป็นช่องเหลี่ยม ๆ 

จากข้อดีและข้อเสียของตัวอักษรแบบเวกเตอร์ และบิตแมพที่ผ่านมาเราสรุปได้ดังนี้คือ ตัวอักษรเวกเตอร์
ตัวอักษรบิตแมพ 1.ปรับเปลี่ยนขนาดได้ตามใจชอบภาพไม่แตก 1.ปรับเปลี่ยนขนาด ภาพจะแตก 2.แก้ไขข้อความได้ง่าย 2.แก้ไขข้อความยาก หรือแก้ไขไม่ได้ 3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทาได้น้อยมาก 3.การปรับแต่งสี และลูกเล่นทาได้มาก

วันอังคารที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

บทที่ 4 การปรับรูปทรงภาพด้วยวิธี Transform





การปรับรูปทรงภาพด้วยวิธี Transform
ในบทนี้เราจะทาการปรับขนาดภาพ หมุนภาพ และบิดภาพ เพื่อให้ได้รูปทรงในแบบที่เราต้องการเราเรียกวิธีการนี้ว่า “Transform” ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1.ปรับขนาดภาพด้วยวิธีการ Scale ได้
2.หมุนภาพด้วยคาสั่ง Scale ได้
3.เอียงภาพด้วยคาสั่ง Skew ได้
4.บิดภาพด้วยคาสั่ง Distort ได้
5.บิดภาพให้มีมิติด้วย Perspective ได้
6.ดัดภาพให้โค้งด้วยคาสั่ง Warp ได้ รูปที่ 2.86 ภาพการปรับขนาดภาพ
ในบทนี้เราจะทา การปรับขนาดภาพ หมุนภาพ และบิดภาพ เพื่อให้ได้รูปทรงภาพในแบบที่เราต้องการ เราเรียกวิธีการนี้ว่า “ Transform”
Transform คือ วิธีการนา ภาพหรือพื้นที่ภาพที่เราเลือกไว้ มาปรับรูปทรงให้เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น ปรับ ภาพให้มีขนาดเล็กลง ปรับทิศทางการวางภาพให้เอียง ยืดและบิดภาพ เป็นต้น ซึ่งวิธีการเหล่านี้สามารถปรับได้ ตามคา สั่งที่ใช้โปรแกรมกา หนดไว้ด้วยคา สั่ง Transform และปรับได้โดยเราเป็นผู้กา หนดเองด้วยคา สั่ง Free Transform 4.1 ปรับขนาดภาพ ( Scale ) ในการซ้อนภาพ บางครั้งภาพที่นา มาไม่สามารถซ้อนกันได้พอดี ต้องมีการปรับขนาดก่อน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ตัดภาพผู้หญิงมาวางซ้อนไว้บนภาพแผ่นฟิ ล์ม ภาพที่ตัดมาวางขนาดใหญ่เกินไป
ปรับขนาดภาพให้เล็กลง
1.ใช้ Rectangular Marquee Tool เลือกภาพผู้หญิง 3.เลือก Edit>Transform>Scale เพื่อปรับขนาดภาพ 4.ลากเมาส์ที่มุมภาพเพื่อปรับขนาดและเลื่อนตาแหน่งภาพให้วางพอดี รูปที่ 2.87 ภาพตัวอย่าง 2.ใช้ Move Tool ลากภาพผู้หญิงมาวางบนภาพแผ่นฟิล์ม 1. ใช้ Rectangular Marquee Tool เลือกภาพผู้หญิง นาภาพกบมาวางอยู่บนภาพใบบัว ลองหมุนภาพเพื่อให้ได้มุมลงตัวยิ่งขึ้น รูปที่ 2.88 ภาพการหมุนภาพ 2. ใช้ Move Tool ลากภาพผู้หญิงมาวางบนภาพแผ่นฟิล์ม สังเกตได้ว่าภาพของผู้หญิงมีขนาดที่ใหญ่กว่า พื้นที่ของแผ่นฟิล์มไม่สามารถวางซ้อนภาพได้อย่างพอดี
3. เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Scale เพื่อเข้าสู่การย่อ/ขยายขนาดของภาพ
4. จะปรากฏรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบภาพ จากนั้นคลิกเมาส์ที่มุมของกรอบ ตัวเมาส์จะเปลี่ยนเป็นรูปแล้ว ลากเมาส์เพื่อลดขนาดภาพตามต้องการ (หากต้องการปรับขนาดภาพให้ได้สัดส่วน ให้กด แป้น>Shift>ค้างไว้ แล้วลากเมาส์ปรับย่อ/ขยายขนาดภาพได้)
5. เมื่อได้ขนาดภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดแป้น <Enter>เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพ หรือกดแป้น <ESC>เพื่อยกเลิกการปรับรูปทรงภาพ
4.2 หมุนภาพ ( Rotate) หากภาพที่นามาอยู่ในทิศทาง หรือมุมที่ไม่ลงตัว เราสามารถหมุนภาพได้ ดังขั้นตอนต่อไปนี้ 2.ลากเมาส์ที่มุมภาพเพื่อหมุนภาพ 3.กด <Enter>เมื่อได้ภาพในทิศทางที่ต้องการ 1.เลือก Edit>Transform>Rotate เพื่อหมุนภาพ รูปที่ 2.89 ภาพตัวอย่างการหมุนภาพ 1. เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Rotate เพื่อเข้าสู่การหมุนภาพ
2. จะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบภาพที่จะหมุน จากนั้นเลื่อนเมาส์ไปบริเวณไอคอนสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ จนตัวชี้เมาส์เปลี่ยนเป็นรูปแล้วลากเมาส์หมุนภาพ(หากจะหมุนภาพให้ได้ครั้งละ 15 องศา ให้ กดแป้น <Shift>ค้างไว้ จากนั้นจึงหมุนภาพ)
3. เมื่อได้ภาพเอียงในมุมที่ต้องการแล้วให้กดแป้น <Enter> เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพ หรือกดแป้น <ESC>เพื่อยกเลิกการปรับรูปทรงภาพ
แม้เราจะหมุนภาพได้อย่างอิสระในคาสั่ง Rotate แต่ถ้าต้องการหมุนภาพครั้งละ 90 และ180 องศาอย่างพอดี ให้เปลี่ยนไปใช้คาสั่ง Edit>Transform>เลือกคาสั่งหมุนหรือกลับภาพตาม ต้องการ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
เลือกพื้นที่ภาพ และเลือกคาสั่ง Edit>Transform>เลือกรูปแบบของการหมุน หรือกลับภาพที่ต้องการ รูปที่ 2.90 ภาพการหมุนภาพ ภาพต้นแบบRotate 1800หมุนภาพ 180 องศา Rotate 900 CW หมุนภาพ Rotate 900 CCW หมุนภาพFlip Horizontal กลับภาพในFlip Vertical กลับภาพใน ตามเข็มนาฬิกา 90 องศาทวนเข็มนาฬิกาไป 90 องศา แนวนอนหรือกลับซ้ายเป็นขวา แนวตั้งหรือกลับบนลงล่าง
4.3 เอียงภาพ (Skew) 1.เลือก Edit>Transform>Skewเพื่อเอียงภาพ 1.เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Perspective เพื่อบิดภาพให้ดูมีมิติ รูปที่ 2.93 ภาพการบิดภาพให้เป็นมิติ รูปที่ 2.91 ภาพการเอียงภาพ เป็นการเอียงกรอบด้านใดด้านหนึ่งของภาพ ทาให้ลักษณะของภาพลาดเอียง ลองดูตัวอย่างต่อไปนี้
ภาพที่ต้องการเอียง เอียงภาพเข้าที่แล้ว 1.เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Skew เพื่อเอียงภาพ
2.จะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบภาพ คลิกเมาส์ที่ด้านของภาพ ตัวชี้เมาส์เป็นรูป แล้วลากเมาส์เอียงภาพตามมุมต่าง ๆ ตามต้องการ
3.เมื่อได้ภาพตามที่ต้องการแล้ว ให้กดแป้น <Enter>เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพหรือกดแป้น<ESC>เพื่อยกเลิกการปรับรูปทรงภาพ 4.4 บิดภาพให้ผิดสัดส่วน (Distort) กลุ่มคาสั่ง Quick mask เกี่ยวกับการเลือกพื้นที่อีกรูปแบบหนึ่ง 1.เลือก Edit>Transform>Distort เพื่อบิดภาพ รูปที่ 2.92 ภาพการบิดภาพ เป็นการบิดภาพให้ได้ผิดสัดส่วน ซึ่งทาได้หลายลักษณะ และมีรูปทรงแตกต่างกันไป ลองดูตัวอย่างต่อไป
1. เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Distort เพื่อบิดภาพ
2. จะปรากฏกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบภาพ คลิกเมาส์ที่มุมของภาพ ตัวชี้เมาส์เปลี่ยนเป็นรูปแล้วลาก เมาส์บิดภาพตามมุมต่าง ๆ ตามต้องการ
3. เมื่อได้ขนาดภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดแป้น <Enter>เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพหรือกดแป้น <ESC>เพื่อยกเลิกการปรับรูปทรงภาพ
1.เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Perspective เพื่อบิดภาพให้ดูมีมิติ 1.เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Perspective เพื่อบิดรูปที่ 2.93 ภาพการบิดภาพให้เป็นมิติ รูปที่ 2.93 ภาพการบิดภาพให้เป็นมิติ 4.5 บิดภาพให้ดูมีมิติใกล้ไกล (Perspective) เป็นการบิดภาพเพื่อสร้างมิติ มีความลึก ความสูง อทาให้เกิดความรู้สึกใกล้ไกลในภาพได้ ลองดูตัวอย่างต่อไป 3.กด<Enter>เมื่อได้ภาพตามรูปทรงที่ต้องการ 2.ลากเมาส์ที่มุมภาพเพื่อบิดภาพ รูปที่ 2.94 ภาพตัวอย่าง 1. เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Perspective เพื่อบิดภาพให้ดูมีมิติ
2. ลากเมาส์เพื่อปรับย่อ หรือขยายมุมของภาพพร้อม ๆ กัน ทั้ง 2 มุม
3. เมื่อได้ขนาดภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดแป้น <Enter> เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพ
4.6 ดัดภาพให้โค้ง (Warp) เป็นการดัดภาพแนวโค้ง ใช้บ่อยในการสร้างลวดลายบนวัตถุผิวโค้ง ลองดูตัวอย่างต่อไป รูปที่ 2.95 ภาพตัวอย่างการบิดภาพให้เป็นมิติภาพที่ต้องการดัดโค้งให้พอดีกับแก้วน้า ภาพที่ได้บิดรูปทรงแล้ว ภาพที่ได้ดัดโค้งเข้ากับแก้วน้าอย่างลงตัว 1.เลือก Edit>Transform>Warp เพื่อดัดให้โค้ง 2.ลากเมาส์ตามจุด ต่างๆ เพื่อให้ภาพวางพอดีกับแก้ว 4.กด<Enter>เมื่อได้ภาพโค้งตามรูปทรงที่ต้องการ 1. เลือกคาสั่ง Edit>Transform>Warp เพื่อดัดภาพให้โค้ง
2. จะปรากฏเส้นตารางในลักษณะของตาข่าย โดยเราสามารถเลื่อนตาข่ายให้พอดีกับภาพที่จะปรับได้
3. ดัดแขนในแต่ละมุมของตาข่าย เพื่อให้ภาพโค้งตามรูปทรงที่ต้องการ 3.ดัดแขนให้ภาพโค้งพอดีกับแก้ว 1.เลือกเมนู Window>Layers รูปที่ 2.96 ภาพการดัดภาพให้โค้ง 4.สีภาพดัดโค้งจะเปลี่ยน เพื่อให้กลมกลืนกับสีผิวของแก้วมากขึ้น 2.คลิกเลเยอร์ภาพที่ใช้เคลือบบนผิวของแก้ว 4. เมื่อได้ขนาดภาพที่ต้องการแล้ว ให้กดแป้น <Enter> เพื่อยืนยันการปรับรูปทรงภาพ ปรับแต่งภาพที่ซ้อนกันให้สวยสมจริง ตัวอย่างนี้จะประยุกต์การใช้เลเยอร์
เพื่อให้ภาพที่ซ้อนด้านบน เข้าเคลือบบนผิว